ท่าออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย
ท่าออกกำลังกายที่ช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายมุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ห้องน้ำเพื่อการขับถ่ายได้ด้วยตัวเอง โดยมีท่าต่างๆ ให้เลือกทำตามความเหมาะสมต่อสภาพร่างกาย โดยควรทำเป็นประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ
สภาพร่างกายของคุณเป็นแบบไหน
ก่อนเริ่มออกกำลังกาย
ข้อควรระวังก่อนการเริ่มออกกำลังกาย
คำแนะนำในการออกกำลังกายอย่างมีประสิทธิภาพ
คำเตือน
หากมีอาการใดอาการหนึ่งดังต่อไปนี้ ห้าม หรือให้หยุดออกกำลังกายทันที
ห้ามออกกำลังกาย |
หยุดออกกำลังกายทันที |
|
---|---|---|
อัตราการเต้นของหัวใจ |
อัตราการเต้นของหัวใจสูงกว่า 120 ครั้งต่อนาทีในขณะพัก |
อัตราการเต้นของหัวใจสูงกว่า 140 ครั้งต่อนาทีในขณะออกกำลังกาย |
ความดันโลหิต บน/ล่าง |
ค่าความดัน 200/120 มม.ปรอท ในขณะพัก |
เมื่อค่าความดันเพิ่มขึ้นจากปกติมากกว่า 40/20 มม.ปรอท |
หลอดเลือดหัวใจตีบ/ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด |
เคยมีอาการที่เกี่ยวเนื่องกับโรคหัวใจในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา |
|
ชีพจรไม่สม่ำเสมอ |
การเต้นของชีพจรที่ผิดปกติอย่างเห็นได้ชัด |
จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติเกิน 10 ครั้งขณะออกกำลังกาย |
อาการปวด |
มีอาการเจ็บปวดที่ผิดปกติ หรือมีจุดที่กดแล้วรู้สึกเจ็บ |
|
อาการอื่นๆ |
มีอาการใจสั่น หรือหายใจติดขัด |
รู้สึกหายใจลำบาก วิงเวียนศรีษะ หรือเจ็บหน้าอก ขณะออกกำลังกาย |
ผู้ที่มีปัญหาปัสสาวะแต่สามารถออกนอกบ้านได้ตามปกติ, ผู้สูงอายุที่เดินและช่วยเหลือตัวเองได้ หรือผู้สูงอายุที่ยืนและเดินได้โดยผู้ช่วย
ท่าออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุที่สามารถยืนได้โดยมีผู้ช่วย
สำหรับผู้สูงอายุที่นั่งได้โดยผู้ช่วยเหลือ
ท่าออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุที่นอนบนเตียงเป็นส่วนใหญ่
เพิ่มสมรรถภาพกล้ามเนื้อที่ช่วยในการนั่งบนโถส้วม
เพิ่มสมรรถภาพกล้ามเนื้อช่องท้อง และการออกแรงเบ่ง
หน่วยงานผู้ให้ข้อมูล และกำกับดูแล
สถาบันวิจัย
- โคจิ ซาโตะ แผนกการฟื้นฟูสมรรถภาพ โรงพยาบาลยูฟูอิน
- คาซูโอะ ซาโตะ โรงเรียนพยาบาล คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยโออิตะ
- Unicharm Continence Support Research Institute
ผู้กำกับดูแล
- ศ. ฮิโรมิซู มิมาตะ แผนกศัลยศาสตร์ทางเดินปัสสาวะ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยโออิตะ
- ผอ. เทรุอากิ โมริ โรงพยาบาลยูฟูอิน
- ผจก. ฮิโรชิ โอตะ ศูนย์สุขภาพอิบารากิ
คำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ และนักบำบัด